แขวงไชยบุรี ลาว

แขวงไชยบุรี

สถานที่ตั้ง :
อยู่ติดชายแดนไทย ตั้งแต่จังหวัดเชียงรายตอนล่าง-พะเยา-น่าน-อุตรดิษถ์-พิษณุโลก-เลย

เมืองหลวง เมืองไชยบุรี
หลังจากแม่น้ำโขงไหลผ่านแขวงบ่อแก้ว แขวงอุดมไชย มายังแขวงหลวงพระบาง จากหลวงพระบางแม่น้ำโขงไหลต่อไปยังแขวงไชยบุรี แขวงนี้อาจจะไม่โดดเด่นในเรื่องการท่องเที่ยวมากซักเท่าไร ถ้าเทียบกับเมืองหลวงพระบาง และนครเวียงจันทน์แล้ว แต่ในอนาคตอาจได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว หากถนนที่เชื่อมต่อจังหวัดน่านเข้าสู่แขวงไชยบุรีตัดผ่านไปยังหลวงพระบาง

ไชยบุรี เมืองแห่งป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์และธรรมชาติอันสวยงาม ตั้งอยู่บนภูเขาและที่ราบสูง มีเขตแดนติดกับไทยยาว 645 กิโลเมตร ชาวพื้นเมืองส่วนใหญ่เป็นพวกไทดำ ไทลื้อ ขมุขฉิ่น กรี อาข่า และมลาบรี ทางตะวันออกติดกับฝั่งแม่น้ำโขง จะเห็นยอดเขาที่มองไกลๆ จะเหมือนช้างกำลังเดิน จึงได้ชื่อว่า ผาช้าง ส่วนทางทิศตะวันตกของตัวเมืองมีต้นไม้ขึ้นหนาทึบเป็นที่ตั้งของป่าสงวนแห่งชาติน้ำพูน ถัดมาทางตอนใต้ริมชายแดนมีน้ำตกให้เที่ยวชม ได้แก่ น้ำตกบ้านคำ น้ำตกตาดเหือง แต่ยังไม่มีถนนเข้าถึง ส่วนน้ำตกที่มีถนนเข้าถึงและเป็นที่นิยมของชาวบ้านได้แก่ น้ำตกตาดแจว สูงราว 30 เมตร อยู่ห่างจากท่าเดื่อประมาณ 1 กิโลเมตร การเดินทางสะดวก อยู่ใกล้ตัวเมือง ห่างจากท่าเดื่อประมาณ 1 กิโลเมตร ชาวบ้านส่วนใหญ่นิยมมาเที่ยวพักผ่อนซึ่งเจ้าชีวิตศรีสว่างวงศ์โปรดให้สร้างขึ้นหลังจากแม่น้ำโขงไหลผ่านแขวงบ่อแก้ว แขวงอุดมไชย มายังแขวงหลวงพระบาง จากหลวงพระบางแม่น้ำโขงไหลต่อไปยังแขวงไชยบุรี แขวงนี้อาจจะไม่โดดเด่นในเรื่องการท่องเที่ยวมากซักเท่าไร ถ้าเทียบกับเมืองหลวงพระบาง และนครเวียงจันทน์แล้ว แต่ในอนาคตอาจได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว หากถนนที่เชื่อมต่อจังหวัดน่านเข้าสู่แขวงไชยบุรีตัดผ่านไปยังหลวงพระบาง

ไชยบุรี เมืองแห่งป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์และธรรมชาติอันสวยงาม ตั้งอยู่บนภูเขาและที่ราบสูง มีเขตแดนติดกับไทยยาว 645 กิโลเมตร ชาวพื้นเมืองส่วนใหญ่เป็นพวกไทดำ ไทลื้อ ขมุขฉิ่น กรี อาข่า และมลาบรี ทางตะวันออกติดกับฝั่งแม่น้ำโขง จะเห็นยอดเขาที่มองไกลๆ จะเหมือนช้างกำลังเดิน จึงได้ชื่อว่า ผาช้าง ส่วนทางทิศตะวันตกของตัวเมืองเป็นที่ตั้งของป่าสงวนแห่งชาติน้ำพูน ถัดมาทางตอนใต้ริมชายแดนมีน้ำตกให้เที่ยวชม ได้แก่ น้ำตกบ้านคำ น้ำตกตาดเหือง แต่ยังไม่มีถนนเข้าถึง ส่วนน้ำตกที่มีถนนเข้าถึงได้แก่ น้ำตกตาดแจว สูงราว 30 เมตร การเดินทางสะดวก อยู่ใกล้ตัวเมือง ห่างจากท่าเดื่อประมาณ 1 กิโลเมตร ชาวบ้านส่วนใหญ่นิยมมาเที่ยวพักผ่อนซึ่งเจ้าชีวิตศรีสว่างวงศ์โปรดให้สร้างขึ้น ชาวพื้นเมือง อาทิ ไทดำ ไทลื้อ ขมุ ขฉิ่น กรี อาข่า และมลาบรี จึงอพยพข้ามไปมาระหว่าง 2 ประเทศ ทั้งยังเป็นแขวงที่มีการทำไม้ซุงมากจึงมีช้างงานมากที่สุดในประเทศ